ฟ้อนรำตังหวาย : ศิลปะแขนงนาฏศิลป์ไทยคู่อีสาน

          นาฏศิลป์และนาฎยศิลป์เป็นศิลปะการฟ้อนรำ แขนงหนึ่งที่อยู่คู่กับวิถีชีวิตของคนไทย ซึ่งมีลักษณะสำคัญที่แตกต่างกันไปตามภูมิประเทศ ถิ่นที่อยู่อาศัย และการประกอบอาชีพต่างๆ ภาคอีสานหรือตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย วิถีชีวิตของคนในพื้นที่นี้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ เกิดความเชื่อเรื่องเทพเจ้า บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เคารพบูชา โดยเริ่มจากวิงวอนอธิษฐาน ด้วยการเล่นเครื่องดนตรี การร้องและการรำเพื่อให้เทพเจ้าเกิดความพึงพอใจมากที่สุด     …

Read More

เยาวราช : ถิ่นย่านการค้าชุมชนชาวจีน

          ประเทศไทยเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมแห่งหนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน “ชนชาติจีน” กลุ่มคนสำคัญที่มีบทบาทในสังคมไทย ขึ้นชื่อในเรื่องการค้าขายได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานตั้งแต่สมัยอยุธยาได้นำวัฒนธรรม รูปแบบการใช้ชีวิต การกิน และเทศกาลต่างๆเข้ามาในดินแดนประเทศไทย ประวัติย่านไชน่าทาวน์เยาวราช           ภาพที่ ๑ …

Read More

“สังขละบุรี” : วิถีชีวิตชาวมอญลุ่มแม่น้ำซองกาเลีย

          ช่วงปลายฝนต้นหนาวกำลังมาถึง เหล่านักท่องเที่ยวจำนวนไม่น้อยกำลังวางแพลนในการเดินทางท่องเที่ยวไปยังสถานที่ต่างๆเพื่อไปสัมผัสอากาศที่หนาวเย็น เห็นได้จากโลกออนไลน์จากเพจแนะนำสถานที่ท่องเที่ยวที่มีผู้กดไลค์และให้ความสนใจเป็นจำนวนมาก อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี หนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวเป็นจำนวนมาก อีกทั้งได้รับการกล่าวขานในเรื่องความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติ และความน่ารักของชาวบ้านไทย-มอญที่มีการติดต่อสัมพันธ์กันมาอย่างยาวนาน           ภาพที่ 1  …

Read More

ลายไทย : พุ่มข้าวบิณฑ์

 ลายไทย เป็นแขนงหนึ่งของวิชาศิลปะซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย ลวดลายต่างๆที่ถูกรังสรรค์เป็นส่วนหนึ่งของประติมากรรมและสถาปัตยกรรมที่ตั้งตระหง่านอยู่ในแต่ละภูมิภาคของไทย ซึ่งลวดลายต่างๆ จะให้ความรู้สึกอ่อนช้อย งดงาม นุ่มนวล เป็นลักษณะนิสัยของคนไทย จึงมีการสืบสานและวางแผนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน  “ลาย” ราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายว่า รูปแบบทางทัศนศิลป์ประเภทหนึ่ง ประกอบขึ้นด้วยเส้นเป็นสำคัญ ลักษณะเป็นแบบซ้ำๆ เป็นหมู่ๆ หรือต่อเนื่องกันไป มีทั้งลายแบบธรรมชาติและลายแบบประดิษฐ์ใช้เขียน ปั้น หรือแกะสลัก จึงแบ่งความหมายของลายไทยตามลักษณะวิธีการสร้างสรรค์ได้ …

Read More

เครื่องปั้นดินเผา จากอดีตสู่ปัจจุบัน

มนุษย์คือผู้สร้างสรรค์งานศิลปะ “เครื่องปั้นดินเผา” เป็นหนึ่งในการประดิษฐ์ศิลปะในรูปแบบของ       ดินเผาที่มีอายุนานกว่า 10,000 ปี ผ่านกระบวนการทางความคิด การสังเกต และรวบรวมเอาประสบการณ์ความคิดสร้างสรรค์มาถ่ายทอดเป็นชิ้นงาน ที่สร้างขึ้นเพื่อประโยชน์ใช้สอยหรือเพื่ออำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิต ซึ่งลวดลาย รูปทรง และสีสัน ของชิ้นงานเหล่านี้จะแตกต่างกันไปตามลักษณะภูมิศาสตร์ ความเชื่อ ศาสนาและประเพณีตามถิ่นที่อยู่อาศัยของมนุษย์ ราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายของเครื่องปั้นดินเผา หมายถึง วัตถุประดิษฐ์เพื่อใช้เป็นเครื่องใช้ ทำมาจากอนินทรียสารอโลหะ …

Read More

“ผ้าไหมแพรวา” ราชินีแห่งไหม ชาวภูไทกาฬสินธุ์

เมื่อกล่าวถึง “ผ้าไหมแพรวา” ศิลปหัตถกรรมของชาวผู้ไทที่ได้รับสมญาณนามว่า “ราชินีแห่งผ้าไหม” ของดีประจำจังหวัด กาฬสินธุ์ สิ่งทอมือที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของชาวภูไทที่สร้างชื่อเสียงให้ประเทศและก้าวสู่เวทีระดับโลก แต่เดิมผ้าไหมแพรวามาพร้อมกับวัฒนธรรมของชาวภูไท ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยที่มีถิ่นกำเนิดในบริเวณ แคว้นสิบสองจุไทย ได้อพยพย้ายถิ่นฐานผ่าน เวียดนาม ลาวและข้ามฝั่งแม่น้ำโขงเข้ามาตั้งหลักแหล่งอยู่แถบเทือกเขาภูพานทางภาคอีสานของประเทศไทย ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์ นครพนม มุกดาหาร และสกลนคร โดยชาวภูไทยังคงรักษาวัฒนธรรม ประเพณี …

Read More

การแต่งกายในสมัยรัตนโกสินทร์ : ตอนที่ 2 รัชกาลที่ 6 – 9

ในช่วงรัชสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น  ช่วงรัชกาลที่ 1-3 เป็นยุคที่ลักษณะการแต่งกายยังคงรูปแบบดั้งเดิมที่สืบทอดมาจากสมัยอยุธยา  จนเมื่อเริ่มสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงมีพระประสงค์ในการพัฒนาประเทศให้มีความทันสมัยตามแบบของชาวตะวันตก  เพื่อไม่ให้ประเทศไทยถูกดูถูกจากต่างชาติ  จวบจบสมัยรัชกาลที่ 5  ก็ทรงดำเนินตามแนวของรัชกาลที่ 4  ในการพัฒนาประเทศให้ทันสมัยในหลายๆ ด้านดังเป็นที่ประจักษ์โดยทั่วไป  และในด้านการแต่งกายนั้นมีการผสมผสานวัฒนธรรมการแต่งกายของชาวตะวันตกเข้ากับวัฒนธรรมของไทยทำให้เกิดลักษณะการแต่งกายที่งดงามซึ่งหาชาติใดเสมอเหมือนได้ยากนัก   สำหรับรูปแบบการแต่งกายใน รัชสมัยรัชกาลที่ 6 ถึง รัชกาลที่ …

Read More

หลวงพระบางเมืองมรดกโลก: ช้างสัญลักษณ์ความศักดิ์สิทธิ์สู่สินค้าหัตถกรรม

อาณาจักรล้านช้าง ในตำนานของขุนบรมมีคำว่าช้างปรากฏตั้งแต่ปลายพุทธศตวรรษที่ 19 หรือประมาณปี พ.ศ.2063  ต่อมาก็ได้พบกับคำว่า ล้านช้าง ตามพงศาวดารฉบับต่าง ๆ เช่น ฉบับแรก พบปรากฏอยู่กับศิลาจารึกวัดถ้ำสุวรรณคูหา ประมาณ พ.ศ. 2016 จารึกด้วยอักษรธรรมปรากฏคำว่า ศรีสัตนาคนหุตมหานครราชธานี คำว่า สตะนาคนะหุต แปลว่า …

Read More

เครื่องจักสาน

ความหมาย เครื่องจักสาน คือ เครื่องใช้ที่ทำด้วยไม้ไผ่หรือหวาย จากฝีมือความคิด ภูมิปัญญาของชาวบ้านมีลักษณะรูปทรงแตกต่างกันไปตามแต่ละท้องถิ่นทั้งนี้ขึ้นอยู่กับภูมิประเทศ วัสดุอุปกรณ์คตินิยม และอาชีพของคนในท้องถิ่นนั้นๆ คำว่า “ จักสาน” คำว่า จัก คือ การทำให้เป็นแฉก เป็นหยักๆ ด้วยฟันเลื่อย หรืออีกวิธีการหนึ่ง การที่ชาวบ้านใช้คมมีดผ่าไม้ไผ่แล้วทำให้เป็นเส้นบางๆ วิธีการอย่างนี้ก็เรียกว่า …

Read More

หนุมานชาญสมร

ท้าวโคดม  เป็นกษัตริย์ครองเมืองสาเกดมาเป็นเวลานานแต่ไม่มีโอรสธิดาเลย  ต่อมามีความเบื่อหน่ายในราชสมบัติจึงออกบวชเป็นฤาษีบำเพ็ญศีลภาวนาอยู่ในป่านานถึงสองพันปี  วันหนึ่งนึกขึ้นก็ได้ทำพิธีบูชาไฟแล้วนั่งหลับตาร่ายเวทนาจนกระทั่งบังเกิดสาวสวยผุดขึ้นกลางกองไฟ    พระฤาษีโคดมตั้งชื่อให้นางว่า  กาลอัจนาและได้นางเป็นภรรยาทั้งสองอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข  ต่อมาไม่นานนางกาลอัจนาก็ตั้งครรภ์และให้กำเนิดลูกสาวรูปร่างหน้างดงาม  โดยตั้งชื่อให้ว่า  สวาหะ           ทุก ๆ เช้าพระฤาษีจะต้องเข้าป่าเพื่อหาผลไม้มาเป็นอาหาร  แต่ก่อนที่จะออกจากอาศรม  พระฤาษีมักจะสั่งกำชับให้นางกาลอัจนาเลี้ยงลูกอยู่แต่ในอาศรม          พระอินทร์ต้องการแบ่งกำลังของพระองค์ไปเกิดในเมืองมนุษย์  เพื่อให้เป็นทหารของพระนารายณ์ซึ่งจะอวตารมาเกิดเป็นพระรามและทำสงครามกับทศกัณฐ์  วันหนึ่งจึงเหาะลงมาจากวิมาน   …

Read More