งิ้ว : เปิดตำนานมหรสพจีนที่กำลังเลือนรางไป

          อุปรากรจีนหรืองิ้ว อยู่คู่สังคมไทยมาร้อยปี ตั้งแต่ประเทศไทยเริ่มมีการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน ในสมัยสุโขทัยและได้เข้ามาตั้งหลักปักฐานในเมืองไทยในสมัยอยุธยา จึงเกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมร่วมกับชาวจีน “งิ้ว” หนึ่งในมหรสพที่เกี่ยวข้องกับสังคม วัฒนธรรมและแนวคิดการดำรงชีวิตของชาวจีน ที่ยังได้รับการสืบทอดและปรับเปลี่ยนให้สามารถอยู่คู่กับสังคมไทยท่ามกลางความบันเทิงสมัยใหม่หลั่งไหลเข้ามา           คนไทยเรารู้จัก “งิ้ว”มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จากบันทึกรายวันและจดหมายเหตุ กล่าวถึง  การเดินทางสู่ประเทศสยามของบาทหลวงเดอ …

Read More

หนังประโมทัยอีสาน : หนังตะลุงของคนอีสาน

          ศิลปะการแสดงเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของชาวบ้านในแต่ละท้องถิ่น ซึ่งเกิดจากอารมณ์ ความรู้สึกและภูมิปัญญาถ่ายทอดมาสู่การแสดงนั้นๆ มีการรักษาให้คงอยู่ต่อไปและปรับเปลี่ยนให้มีรูปแบบที่ทันยุคสมัยในปัจจุบัน การแสดงหนังประโมทัยอีสาน เป็นหนึ่งในศิลปะการแสดงไทยที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองและกลายเป็นมหรสพประจำถิ่น ที่มีชื่อเรียกต่างๆกันไปหลายชื่อ เช่น หนังปราโมทัย หมายถึง ความบันเทิงใจ, หนังปะโมทัย หมายถึง เป็นชื่อคณะหนังตะลุงที่มีชื่อเสียง, หนังบักตื้อ …

Read More

กำเนิดระบำอัปสรา (Apsara Dance)

          “ชนชาติขอม” เป็นชนชาติที่ยิ่งใหญ่แห่งหนึ่งในเอเชียอาคเนย์ซึ่งมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาอันยาวนานได้ทิ้งร่องรอยทางโบราณสถานไว้ทุกภูมิภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเบื้องต้นพบประเทศไทยมีปราสาทขอมในที่ราบสูงอีสานทั้งสิ้น 155 แห่ง จังหวัดที่พบร่องรอยมากที่สุดคือ จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 50 แห่ง การก่อสร้างปราสาทขอม สร้างขึ้นตามคติความเชื่อของชาวอินเดียที่ว่าเทพเจ้าทั้งหลายสถิตอยู่ ณ เขาพระสุเมรุ …

Read More

ฟ้อนรำตังหวาย : ศิลปะแขนงนาฏศิลป์ไทยคู่อีสาน

          นาฏศิลป์และนาฎยศิลป์เป็นศิลปะการฟ้อนรำ แขนงหนึ่งที่อยู่คู่กับวิถีชีวิตของคนไทย ซึ่งมีลักษณะสำคัญที่แตกต่างกันไปตามภูมิประเทศ ถิ่นที่อยู่อาศัย และการประกอบอาชีพต่างๆ ภาคอีสานหรือตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย วิถีชีวิตของคนในพื้นที่นี้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ เกิดความเชื่อเรื่องเทพเจ้า บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เคารพบูชา โดยเริ่มจากวิงวอนอธิษฐาน ด้วยการเล่นเครื่องดนตรี การร้องและการรำเพื่อให้เทพเจ้าเกิดความพึงพอใจมากที่สุด     …

Read More

อิ่นกอนฟ้อนแกน

โดย อาจารย์ถนอม คงยิ้มละมัย  ผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ปานถนอม อิ่นกอนฟ้อนแกน เป็นประเพณีการละเล่นของคนลาวโซ่งหรือไทยทรงดำ คือ  การละเล่นโยนลูกช่วง หรือเล่นคอน และร่ายรำตามจังหวะเพลงแคนและต่อกลอนกันจนดึก แล้วจึงแยกกันไปพูดคุยกันเป็นคู่ ๆ  เพื่อความสมัครสมานสามัคคี นำไปสู่ความรัก เพื่อความสนุกสนาน  ทำให้หนุ่มสาวได้รู้จักคุ้นเคยจนก่อให้เกิดความรักและแต่งงานกัน การละเล่นโยนลูกช่วง “อิ่นกอน ฟ้อนแกน” เป็นสำเนียงชาว …

Read More