นายนิคม อิศรางกูร ณ อยุธยา ผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประจำปี 2565

โดยสำนักศิลปะและวัฒนธรรม  มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดำเนินการคัดเลือกบุคคล ที่สมควรได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติ ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม “รางวัลเพชรพระนคร ประจำปี 2565 ” เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2565  สาขาคหกรรมศิลป์ “การแกะสลักผักผลไม้” นายนิคม อิศรางกูร ณ อยุธยา  เกิดเมื่อวันที่ …

Read More

อบรมปฏิบัติการ “งานหัตถศิลป์จากหุ่นกระบอกไทย”

ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม (ฝ่ายอุทยานการศึกษา) สำนักการศึกษาต่อเนื่อง ได้จัดการอบรมปฏิบัติการ “งานหัตถศิลป์จากหุ่นกระบอกไทย”ณ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนกาญจนาภิเษก (วิทยาลัยในวัง) จังหวัดนครปฐม เมื่อวันเสาร์ ที่ 20 พฤษภาคม 2566 ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม (ฝ่ายอุทยานการศึกษา) สำนักการศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จัดการอบรมปฏิบัติการ “งานหัตถศิลป์จากหุ่นกระบอกไทย”  ณ ห้องประชุมศุขสวัสดิ …

Read More

สำรวจพื้นที่การจัดกิจกรรมโครงการงานหัตถศิลป์จากหุ่นกระบอกไทย

ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม (ฝ่ายอุทยานการศึกษา) สำนักการศึกษาต่อเนื่อง เดินทางไปที่ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนกาญจนาภิเษก (วิทยาลัยในวัง) จังหวัดนครปฐม เพื่อประสานงานสร้างความร่วมมือจัดการฝึกอบรบด้านศิลปวัฒนธรรมไทย ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม (ฝ่ายอุทยานการศึกษา) สำนักการศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เดินทางไปที่ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนกาญจนาภิเษก (วิทยาลัยในวัง) อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม  เข้าพบนางสาวพัสสรณ์สิริ ประสิทธิ์ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา และอาจารย์พิรุณ …

Read More

งานสงกรานต์อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย มสธ. “ม่วนชื่น ประเพณี ปีใหม่เมือง” ประจำปี 2566

เมื่อวันที่ (11 เม.ย. 66)  ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม สำนักการศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ.) จัดงานประเพณีสงกรานต์ อนุรักษ์วัฒนธรรมไทยประจำปี 2566 “ ม่วนชื่น ประเพณี ปีใหม่เมือง” ณ บริเวณโถงชั้นล่างอาคารวิชาการ 3 โดยในการจัดงานครั้งนี้  ศ.ดร.วิจิตร …

Read More

5 อาหารเหนือสุดแสนลำ ที่ต้องไม่พลาด

ผู้คนส่วนใหญ่มักจะรู้แล้วว่าศิลปวัฒนธรรมของภาคเหนือมีวัฒนธรรมร่วมหรือคล้ายคลึงมาจากอาณาจักรล้านนาในอดีต อาหารพื้นเมืองของภาคเหนือก็ได้รับวัฒนธรรมร่วมอยู่ด้วย โดยอาหารพื้นเมืองภาคเหนือจะมีปัจจัยที่ทำให้อาหารพื้นเมืองแตกต่างจากภาคอื่นเลยนั้นคือสภาพภูมิประเทศ และภูมิอากาศ เนื่องจากที่ตั้งของภาคเหนือตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ก็จะเป็นเทือกเขาและภูเขาสูงเป็นส่วนใหญ่และเป็นป่าทึบ อาหารพื้นเมือง ของภาคเหนือจะมีวัตถุดิบในการประกอบอาหารโดยมีผักเป็นส่วนประกอบหลัก ลักษณะเด่นของอาหารพื้นเมืองภาคเหนือ โดยเอกลักษณ์ของอาหารเหนือก็คือ อาหารภาคเหนือจะไม่นิยมใส่น้ำตาล แต่อาหารนั้นจะได้จากส่วนผสม ที่นำมาทำอาหารก็คือ ผัก โดยนำผักพื้นบ้านที่มีประโยชน์มาเป็นส่วนประกอบ ยกตัวอย่างเช่น ผักแค บอน หยวกกล้วย ผักหวาน เป็นต้น …

Read More

เครื่องแต่งกายพื้นเมืองชาวเหนือ

เครื่องแต่งกายแบบพื้นเมืองของภาคเหนือ เป็นตัวบ่งบอกของคนในแต่ละถิ่น สำหรับในเขตพื้นที่ภาคเหนือซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนา ในอดีต ที่เป็นอาณาจักรที่กว้างใหญ่และครอบคลุมไปใน ๔ ประเทศได้แก่ ไทย , เมียนมาร์ (พม่า) , ลาว , และจีน ในปัจจุบัน ดังนั้นคนท้องถิ่นในแต่ละพื้นที่ มีผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์อาศัยอยู่ เช่น ไทยวน …

Read More

ประวัติที่มาของ ฟ้อนที

     ฟ้อนที (ฟ้อนร่ม) โดยคำว่า “ที” หมายถึง ร่ม เป็นภาษาไต (ไทใหญ่,ไทลื้อ) ใช้เรียกในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ฟ้อนทีจะมีการแสดงในหลายจังหวัด ในภาคเหนือและมีความแตกต่างกันไปแต่ละจังหวัดฟ้อนทีของจังหวัดแม่ฮ่องสอนนิยมใช้รูปทรงสวยและใช้อุปกรณ์ประกอบการรำและลีลาในการรำ เป็นผลงานจากวิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหม่ จัดแสดงในงานนิทรรศการและการแสดงศิลปวัฒนธรรมของสถานศึกษาในสังกัดกองศิลปศึกษา กรมศิลปากร เพื่อเทิดพระเกียรติแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ ๖๐ …

Read More

ประวัติที่มาของ ฟ้อนขันดอก

     ฟ้อนขันดอก” เป็นการแสดงนาฎศิลป์สร้างสรรค์ของชาวล้านนา โดยเริ่มจาก พ่อครูมานพ ยาระนะ ศิลปินแห่งชาติ สาขาการแสดงพื้นบ้านประจำปี พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยฟ้อนขันดอกนั้นมีจุดประสงค์เพื่อใช้ในการแสดงการรำประกอบพิธีบูชาพระรัตนตรัย เพื่อให้เกิดความสงบร่มเย็นให้แก่บ้านเมืองโดย มีอุปกรณ์การแสดงเป็นขันดอก หรือพานใส่ดอกไม้แบบล้านนา ซึ่งตกแต่งเพื่อใช้ในการบูชาพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ในงานบุญพิธีทางศาสนา ฟ้อนขันดอกถือว่าเป็นศิลปะการแสดงที่มีเสน่ห์ที่สำคัญอย่างมากของชาวเหนือ มีการแสดงที่มีความสวยงามและมีท่าทางที่อ่อนช้อยและมีจังหวะ …

Read More

การฟ้อน ศิลปะการแสดงขึ้นชื่อของชาวล้านนา

การฟ้อนของชาวล้านนาในอดีตประกอบไปด้วยลีลาท่าทางที่เลียนแบบหรือดัดแปลงแบบหรือแปลงมาจากธรรมชาติ มักมีลักษณะเป็นศิลปะตาม เผ่าพันธุ์โดยแท้จริง กล่าวคือเชื่องช้าแช่มช้อยสวยงามไม่มีลีลาท่ารำที่ซับซ้อนยุ่งยาก ไม่มีกฎเกณฑ์ข้อบังคับใด ๆ เป็นท่าง่ายๆสั้นๆมักแสดง เป็นชุดมีมากมายหลายรูปแบบ และขนานนามชุดการแสดงหรือกระบวนฟ้อนนั้นๆ ตามเชื้อชาติของผู้ฟ้อนซึ่งเรียกตามภาษาถิ่นพื้นเมืองว่า ช่างฟ้อน ( ออกเสียงว่า “ จ้างฟ้อน ” ) และหมายรวมกันไปหมดทั้งชายและหญิง ชาวพม่าจะเรียกการแสดงหรือการฟ้อนชุดนั้นว่า ฟ้อนม่าน …

Read More

สำนักการศึกษาต่อเนื่องร่วมกับศูนย์วิทยบริการและชุมชนสัมพันธ์ มสธ.อุบลราชธานี ได้ส่ง การแสดงชุด “ฟ้อนรำลายเกราะ” ร่วมงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษาครั้งที่ 21 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช โดยฝ่ายศิลปวัฒนธรรม สำนักการศึกษาต่อเนื่อง ร่วมงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 21 โดยในปี 2566 มรภ.อุบลราชธานี เจ้าภาพ (ผู้จัดงานฯ) จัดพิธีเปิดยิ่งใหญ่ “ยลแสง-ศิลป์ ดินแดนแห่งความสุข” ผู้ร่วมงานกว่า​ 2,000 คน ได้สัมผัสความสุขและมีส่วนร่วมอนุรักษ์ สืบสานศิลปวัฒนธรรมและชมการแสดงศิลปวัฒนธรรม 4 …

Read More